ชัยบุรี∕ชัยบุรี∕สุราษฎร์ธานีชัยบุรี ชัยบุรี สุราษฎร์ธานีชัยบุรี ชัยบุรี สุราษ นำโดยนายวีระเลิศ ตระกูล กำนันตำบลสองแพรกและผู้ใหญ่บ้านได้ประชุมปรึกษาหารือกันเพื่อขอแยกออกมาจากอำเภอพระแสง ตั้งเป็นกิ่งอำเภอโดยเสนอความเห็นผ่านหม่อมเจ้าหญิงวิภาวดีรังสิต
พ่วงพรมคร∕สุราษฎร์ธานี∕เคียนซาพ่วงพรมคร เคียนซา สุราษฎร์ธานีพ่วงพรมคร เคียนซา สุราษฎร์ธานี จากคำบอกเล่าของผู้อาวุโสได้เล่าต่อๆ กันมา กล่าวว่าในอดีตบุคคลกลุ่มแรกที่ได้เข้ามาอาศัย อยู่ในตำบลนี้มีชื่อว่า ตาพ่วง ยายพรม โดยทั้งสองเป็นคนจังหวัดนครศรีธรรมราช
ท่าสะท้อน∕พุนพิน∕สุราษฎร์ธานีท่าสะท้อน พุนพิน สุราษฎร์ธานีท่าสะท้อน พุนพิน สุราษ ตำบลท่าสะท้อน ตั้งอยู่ในเขตอำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีพื้นที่ 58 ตารางกิโลเมตร อยู่ทางทิศใต้ของที่ว่าการอำเภอพุนพิน โดยมีระยะห่างจากที่ว่าการอำเภอพุนพิน ตามถนนสายสุราษฎร์ – พุนพิน และถนนสายสุราษฎร์ – ตะกั่วป่า เป็นระยะทาง 16 กิโลเมตร ประกอบไปด้วยทั้งหมด 7 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ 1 บ้านนาค้อ หมู่ 2 บ้้านบ่อกรัง หมู่ 3 บ้านท่าสะท้อน หมู่ 4 บ้านหนองจอก หมู่ 5 บ้านเขาพลู หมู่ 6 บ้านห้วยลึก หมู่ 7 บ้านศรีเจริญ
พนม∕พังกาญจน์∕สุราษฎร์ธานีพังกาญจน์ พนม สุราษฎร์ธานีพังกาญจน์ พนม สุราษฎร์ธานี ตำบลพังกาญจน์ เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีพื้นที่ประมาณ ประมาณ 28,089 ไร่ พื้นที่มีลักษณะเป็นภูเขาพื้นที่ป่าสมบูรณ์
พุนพิน∕ลีเล็ด∕สุราษฎร์ธานีลีเล็ด พุนพิน สุราษฎร์ธานีลีเล็ด พุนพิน สุราษฎร์ธานี ความเป็นมาของตำบลลีเล็ด ในสมัยที่มีหัวเมืองขยายเป็นศูนย์กลางการปกครอง ขึ้นตรงกับสมัยกรุงศรีอยุธยา (ก่อน พ.ศ. 2439) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า (ร.5) ทรงเสด็จไปบ้านดอน (ทางเรือ)
สุราษฎร์ธานี∕เวียงสระ∕เวียงสระเวียงสระ เวียงสระ สุราษฎร์ธานีเวียงสระ เวียงสระ สุราษฎร์ธานี เมืองโบราณเวียงสระ ปัจจุบันตั้งอยู่อยู่ 7 ตำบลเวียงสระ อ.เวียงสระ จ.สุราษฎร์ธานี ความเป็นมา ยังไม่ชัดเจนมากหนัก ทั้งที่นักประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี ให้ความสนใจและพยายามศึกษาค้นคว้า มีเนื้อที่ 386 ไร่ 1 งาน 15.38 ตารางวา
คลองฉนวน∕สุราษฎร์ธานี∕เวียงสระคลองฉนวน เวียงสระ สุราษฎร์ธานีธานีคลองฉนวน เวียงสระ สุราษฎร์ธานีธานี ตำบลคลองฉนวน เดิมเป็นส่วนหนึ่งของตำบลทุ่งหลวง อำเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานีธานี ต่อมาได้แยกเป็นอำเภอเวียงสระ และแยกเป็นตำบลคลองฉนวน ซึ่งมีอาณาเขตกว้างไกล พื้นที่เป็นที่ราบสูงมีภูเขาหลายแห่ง จึงมีลำน้ำหลายสายไหลผ่านตำบล ซึ่งราษฎรจะยึดเป็นที่พักอาศัย ทำอาชีพทางการเกษตรกรรม และเรียกลำน้ำว่า"คลองฉนวน" เมื่อแยกตำบลจึงใช้ชื่อตำบลตามชื่อของลำน้ำที่ไหลผ่าน
บางสวรรค์∕พระแสงบางสวรรค์ สระเเสง สุราษฎร์ธานีบางสวรรค์ สระเเสง สุราษฎร์ธานี ตำบลบางสวรรค์ เป็นตำบลหนึ่งของอำเภอพระแสง เมื่อปี พ.ศ.2509 ได้แยกออกมาจากตำบลอิปัน ประวัติเล่าว่า บ้านบางสวรรค์ เดิมชาวบ้านเรียกพื้นที่นี้ว่า บ้านเขาปด เนื่องจากมีเถาวัลย์ชนิดหนึ่งเรียกว่า ย่านปดใหญ่ขนาดคนโอบขึ้นอยู่บนภูเขา
บ้านนาสาร∕พรุพี∕สุราษฎร์ธานีพรุพี บ้านนาสาร สุราษฎร์ธานีพรุพี บ้านนาสาร สุราษฎร์ธานี หมู่บ้านประวัติศาสตร์บ้านช่องช้างมีภูมิประเทศตั้งอยู่ในที่ราบระหว่างภูเขา ด้านทิศตะวันออกเรียกว่าภูเขา508ภูเขาด้านท ตะวันตกเรียกภูเขาตก
บ้านส้อง∕สุราษฎร์ธานี∕เวียงสระบ้านส้อง เวียงสระ สุราษฎร์ธานีบ้านส้อง เวียงสระ สุราษฎร์ธานี “บ้านส้อง” มาจากคำว่า “ซ่อง” ในสมัยก่อนราวรัชกาลที่ 1 ได้มีข้าศึกคือ พวกพม่ายกทัพมาจากทางใต้ ในฐานะที่เมืองเวียงสระเป็นหัวเมืองเหมือนกัน ก็รวบรวมซ่องสุมกำลังผู้คนในพื้นที่ ฝึกอาวุธเพื่อต่อสู้กับพม่า ต่อมา พ.ศ. 2495