skip to Main Content

มะลวน พุนพิน สุราษฎร์ธานี

มะลวน พุนพิน สุราษฎร์ธานี ลวนมาจากคำว่า “ม้าล้วง “ เนื่องจากมีวัดอยู่วัดหนึ่ง ตั้งอยู่ตรงข้ามกับองค์การบริหาส่วนตำบลมะลวนในปัจจุบัน ฝั่งคลองทางทิศใต้ วัดนี้ไม่มีประวัติศาสตร์ว่าได้สร้างขึ้นในสมัยใด แต่ได้ตั้งขึ้นภายหลังที่ได้ก่อสร้างวัดน้ำรอบ

ย่านยาว คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี

ย่านยาว คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี ตำบลย่านยาวตั้งอยู่บริเวณลุ่มน้ำพุมดวงในอดีต ประชาชน ส่วนใหญ่ อาศัยอยู่ ริมฝั่งแม่น้ำ เพราะต้องอาศัยเส้นทางคมนาคมที่สำคัญสายหนึ่ง ของอำเภอ คีรีรัฐนิคม เริ่ม จากบริเวณอำเภอบ้านตาขุน ที่เรียกว่า ."เขาวง" ผ่านเข้าสู่ ตำบลย่านยาว แนวฝั่งคลองเป็นแนวตรงตลอด ประชากรบริเวณนี้ จึงเรียกชื่อตามตำบลของตนเองว่า "ย่านยาว"

กะเปา คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี

กะเปา คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี สงครามเดินทางมาสงครามเดินทางมาทางทิศตะวันออกมาพักอาศัยอยู่ที่บ้านทุ่งสะท้อนได้ เห็นหวานพรวนมีมากจึงตัดหนากหวายพรวนมาทำที่ดักปลาตามร่องน้ำสานให้ปากกว้างเครื่องมือนี้ เรียกว่าเปาต่อมาได้มีประกาศให้ทุกแห่งที่มีคนอาศัยตั้งชื่อหมู่บ้านชาวบ้านเห็นมี เปาที่ใช้ทำงานหาเลี้ยงปากท้องจึงพี้อมใจตั้งชื่อว่าเปา ต่อมาได้สถาปนาเป็นตำบลเลยเพิ่มเลยเพิ่มคำว่ากระขึ้นมาเพื่ เพื่อให้คำดูสวยยิ่งขึ้น

ถ้ำสิงขร คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี

ถ้ำสิงขร คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี ตำบลถ้ำสิงขร อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นพื้นที่ ที่มีลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบสูงทางด้านทิศใต้ ลาดต่ำมาทางทิศเหนือสู่คลองพุมดวง มีภูเขาหิน 2 ลูก คือ เขาน้อยและเขาถ้ำสิงขร โดยพื้นที่มีลำคลองสายหลัก 2 สาย คือ คลอง   พุมดวงและคลองแทง

บ้านเสด็จ เคียนซา สุราษฎร์ธานี

บ้านเสด็จ เคียนซา สุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ในฝั่งตะวันออกของภาคใต้ โดยมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายทั้งที่ราบสูง ภูมิประเทศแบบภูเขา รวมทั้งที่ราบชายฝั่ง มีพื้นที่ครอบคลุมถึงในบริเวณอ่าวไทย ทั้งบริเวณที่เป็นทะเลและเป็นเกาะ

ท่าข้าม พุนพิน สุราษฎร์ธานี

ท่าข้าม พุนพิน สุราษฎร์ธานี   “ตำบลท่าข้าม” แต่ก่อนนั้นความเจริญของตลาดท่าข้าม ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของแม่น้ำตาปี มีการเข้ามาตั้งรกรากกันในยุคแรก ๆ จากนั้นผู้คนเริ่มทยอยเข้ามาปักหลักอยู่อาศัยและค้าขายมากขึ้น เช่น ขุนประกิต กาญจนเขตร (ขาบ วิชัยดิษฐ์) อดีตกำนันตำบลทุ่งกง อำเภอกาญจนดิษฐ์ นายผิน คชรักษ์ มาสร้างบ้านหลังใหญ่กว่าใครในสมัยนั้น นอกจากนี้ก็มีชาวจีนเชื้อสายไหหลำเข้ามาตั้งถิ่นฐาน เมื่อชุมชนเติบโตมากขึ้นบ้านเรือนก็เพิ่มขึ้นบนถนนดินสายแคบ ๆ 

ท่าขนอน คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี

ท่าขนอน คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี ท่าขนอนเป็นด่านเก็บภาษีที่มาจากจังหวัดพังงา ตะกั่วป่า และภูเก็ต การเดินทางไปค้าขายของคนในสมัยก่อนต้องเดินทางผ่านมาทางช่องเขา แล้วจึงล่องมาตามลำคลอง ผ่านชายทะเลและริมทางรถไฟ การที่พื้นที่บริเวณนี้เป็นด่านเก็บภาษีอากร จึงเรียกตำบลนี้ว่า "ตำบลท่าขนอน" และอำเภอก็ใช้ชื่อว่าอำเภอท่าขนอน ตอนหลังเห็นว่าชื่อของอำเภอไม่ตรงกับสภาพทางภูมิศาสตร์ จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นอำเภอคีรีรัฐนิคม แต่ตำบลก็ยังชื่อตำบลท่าขนอนเหมือนเดิม

ตะปาน พุนพิน สุราษฎร์ธานี

ตะปาน พุนพิน สุราษฎร์ธานี องค์การบริหารส่วนตำบลตะปานเดิมเป็นสภาตำบลตะปาน ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลจากกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2539 โดยมีที่ทำการ ตั้งอยู่เลขที่ 9/1 หมู่ที่ 1 บ้านปลายคลอง

ตะกุกใต้ วิภาวดี สุราษฎร์ธานี

ตะกุกใต้ วิภาวดี สุราษฎร์ธานี ตำบลตะกุกใต้เป็น 1 ใน 2ตำบลของอำเภอวิภาวดีจังหวัดสุราษฎร์ธานี เดิมเคยอยู่ในอาณาเขตการปกครอง ของอำเภอคีรีรัฐนิคม และเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2535 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศแบ่งพื้นที่อำเภอคีรีรัฐนิคม ออก จัดตั้งเป็นกิ่งอำเภอวิภาวดีโดยกิ่งอำเภอวิภาวดีแบ่งออกเป็น2ตำบลคือตำบลตะกุกเหนือและตำบลตะกุก ใต้จนกระทั่งในวันที่ 24สิงหาคม 2550

คลองน้อย เมืองสุราษ สุราษฎร์ธานี

คลองน้อย เมืองสุราษ สุราษฎร์ธานี ตำบลคลองน้อย แรกเริ่มเดิมมีชื่อว่า ตำบลป่าเหล้า โดยการตั้งชื่อตามเจ้าที่คือ พ่อตาเหล้า แม่ยายเศร้าสร้อย โดยเอาชื่อของตามาตั้งคือ พ่อตาเหล้า มาตั้งเป็นชื่อตำบลป่าเหล้า
Back To Top